จึงส่งวัสสการพราหมณ์ให้ไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเล่าความให้ทรงทราบแล้ว ให้วัสสการพราหมณ์ฟังดูว่าจะทรงพยากรณ์อย่างไร เพราะเชื่อว่าจะไม่ตรัสผิดความจริง. การที่พราหมณ์ผู้รู้ไตรเวท ยังหมกมุ่น สยบอยู่ บริโภคกามคุณ ๕ ( คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อันน่าปรารถนารักใคร่ชอบใจ ) ซึ่งนับเป็นเครื่องจองจำผูกมัดในอริวินัย จะไปสู่ความเป็นผู้ร่วมกับพระพรหมย่อมเป็นไปไม่ได้ เปรียบเหมือนคนต้องการข้ามแม่น้ำ แต่เอาเชือกมัดมือไพล่หลังตัวเองอย่างแน่นหนาอยู่ที่ฝั่งนี้ จะข้ามไปสู่ฝั่งโน้นไม่ได้. จึงตรัสถามว่า เมื่อเป็นเช่นนี้ ถ้อยคำของพราหมณ์ผู้รู้ไตรเวท จึงชื่อว่าไม่มีปาฏิหาริย์ ( เลื่อนลอยไม่มีหลักฐาน ) ใช่หรือไม่ . กราบทูลว่า ใช่ . จึงตรัสต่อไปว่า เมื่อไม่รู้ไม่เห็น แต่แสดงทางตรงเพื่อไปสู่ความอยู่รวมกันพระพรหม จึงมิใช่ฐานะที่จะเป็นจริงได้.
พระมารดาพระโพธิสัตว์ไม่ทรงมีความรู้สึกทางกามในบุรุษทั้งหลาย และจะเป็นผู้อันบุรุษใด ๆ ผู้มีจิตกำหนัดก้าวล่วงไม่ได้. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ กเรริกุฏิ ( กุฏิมีมณฑปทำด้วยไม้กุ่มตั้งอยู่เบื้องหน้า ) ในเชตวนารวมของอนาถปิณฑิกคฤบดี ใกล้กรุงสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคเสด็จจาริกไปในแคว้นโกศล พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ได้เสด็จแวะพัก ณ ตำบลบ้านชื่อสาลวติกา ซึ่งพระเจ้าปเสนทโกศลพระราชทานให้โลหิจจพราหมณ์ครอบครอง.
ตรัสถามถึงการอยู่อย่างไม่ประมาท มีความเพียร ก็กราบทูลถึงพฤติกการณ์ที่ได้อยู่กันอย่างไม่ประมาท มีความเพียร. สมณพราหมณ์พวกที่สี่ ซึ่งไม่ติดอามิส ไม่ติดทิกฐิ ไม่ประมาท จึงพ้นจากเงื้อมมือมาร เปรียบเหมือนเนื้อพวกที่สี่ ซึ่งไม่ติดเหยื่อล่อ และไม่ถูกล้อมจับได้. สมณพราหมณ์พวกที่สอง ไม่ติดตอนแรก แต่ไปติดตอนหลัง ( ไม่อดทนต่อความอดอยาก ) เปรียบเหมือนเนื้อพวกที่สองที่หนีเหยื่อตอนแรก แต่ทนอดไม่ได้ ต้องมาหาเหยื่อในภายหลัง. ตรัสรุปในที่สุดให้ภิกษุทั้งหลายใส่ใจเนือง ๆ ถึงพระโอวาทอันเปรียบด้วยเรื่องเลื่อยนี้ อันจะทำให้ไม่มีถ้อยคำที่อดทนไม่ได้ เป็นไปเพื่อประโยชน์ ความสุขสิ้นกาลนาน. แสดงถึงภิกษุผู้แม้ไม่ปวารณาตนให้ภิกษุผู้อื่นว่ากล่าว แต่เป็นผู้ว่าง่าย จึงมีเพื่อพรหมจารีอยากว่ากล่าวตักเตือนหรือคุ้นเคยด้วย แล้วแสดงธรรมะที่ทำให้ว่าง่ายฝ่ายตรงกันข้าม. แล้วตรัสแสดงความพอใจของกาม , โทษของกาม , การออกไปจากกาม เช่นเดียวกับมหาทุกขักขันธสูตรที่ย่อมาแล้ว.
ตรัสแสดงสัญญา ๙ ประการ ซึ่งมีผลอานิสงส์มาก มีอมตะเป็นที่สุด คือความ กำหนดหมายว่าไม่งาม, ความกำหนดหมายความตาย, ความกำหนดหมายว่าน่าเกลียดในอาหาร, ว่าไม่น่ายินดีในโลกทั้งปวง, ว่าไม่เที่ยง, ว่า เป็นทุกข์ในสิ่งที่ไม่เที่ยง, ว่าไม่ใช่ตัวตนในสิ่งที่เป็นทุกข์, ความกำหนดหมายในการละ, ในการคลายความกำหนัด. ตรัสแสดงนัยอื่นอีก คือพระอรหันต์ย่อมไม่ทำการ ๙ อย่าง ( ๑ ถึง ๕ ซ้ำกัน ) ๖. บอกคืนพระพุทธ ๗.
สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวว่า ความดับภพไม่มีด้วยประการทั้งปวง แต่บางพวกกล่าวว่ามีด้วยประการทั้งปวง พวกที่เห็นว่ามี ย่อมปฎิบัติเพื่อเบื่อหน่ายคลายกำหนัด เพื่อดับภพ ( ความมีความเป็น ) ทั้งหลาย. ตรัสถามต่อไปว่า เคยได้ยินไหมว่า ป่าทัณฑกี , ป่ากาลิงคะ , ป่าเมชฌะ , ป่ามาตังคะ ที่กลายเป็น ป่าไปจริง ๆ . ทูลตอบว่า เคยได้ยิน . ตรัสถามว่า เคยได้ยินว่าเป็นป่าไปเพราะอะไร ทูลตอบว่าเพราะใจคิดประทุษร้ายของฤษี. จึงตรัสเตือนให้คิดให้ดีเสียก่อนล้วจึงตอบเช่นเดิมอีก.
ลาภสักการสังยุตต์ ประมวลเรื่องลาภสักการะ ที่ทำให้คนเสียคน ทำให้อยู่ไม่เป็นสุข จึงไม่ควรปล่อยให้ลาภสักการะชื่อเสียงครอบงำจิตจนลืมตัว เพราะถ้าไม่รู้เท่า ก็จะเป็นเสมือนหนึ่งเบ็ดที่มีเหยื่อล่อให้หลงกลืนลงเข้าไป. ภิกขุณีสังยุตต์ ประมวลเรื่องนางภิกษุณี แสดงถึงการที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงธรรมแก่นางภิกษุณีต่างรูป มี ๑๐ สูตร. ครั้นแล้วทรงแสดงธรรมะที่เทียมคู่ คือสมถะ ( การทำใจให้สงบ ) และวิปัสสนา ( การทำปัญญาให้เห็นแจ้ง ) และแสดงธรรมที่ควรกำหนดรู้ คือขันธ์ ๕ ; ธรรมที่ควรละ คืออวิชชา ( ความไม่รู้อริยสัจจ์ ๔ ) และภวตัญหา ( ความอยากเป็นนั้นเป็นนี่ ) ; ธรรมที่ควรเจริญ คือสมถะและวิปัสสนา ; ธรรมที่ควรทำให้แจ้ง คือวิชชา ( ความรู้อริยสัจจ์ ๔ ) และวิมุติ ( ความหลุดพ้น). พระสารีบุตรอธิบายในหลักใหญ่ที่ว่า ถ้าเสพเข้าอกุศลธรรมเจริญ กุศลธรรมเสื่อม ก็ไม่ควรเสพ ถ้าอกุศลธรรมเสื่อม กุศลธรรมเจริญก็ควรเสพ. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ผู้ใดรู้อรรถ ( เนื้อความ ) แห่งคำที่ตรัสไว้อย่างย่อ ๆ โดยพิสดาร ผู้นั้นย่อมได้รับประโยชน์และความสุข. ออกบวชจากตระกูลสูง ๒.
พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ธรรมชาติฮูสตัน ในสหรัฐอเมริกา ส่งคืนโลงศพหินโบราณที่รู้จักกันในชื่อ Green Coffin ที่ถูกปล้นมาเมื่อหลายปีก่อน กลับไปยังประเทศอียิปต์ … รัฐบาลทหารของเมียนมาร์ จะปล่อยนักโทษจำนวน 7,012 คน ภายใต้ข้อกำหนดนิรโทษกรรม เนื่องในโอกาสวันประกาศอิสรภาพของประเทศ ในขณะที่… สำหรับชาย-หญิง ชาวมาเลเซียที่มีอาชีพเป็นพยาบาล หากจะต้องเลือกเดินทางไปทำงานต่างประเทศ พวกเขามักจะเลือกประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก … กลุ่มก่อการร้าย IS หรือ ดาอิช ออกเทปเสียง เรียกร้องเชิญชวนให้มุสลิมในสิงคโปร์ และในประเทศแถบอาเซียน เข้าร่วมกับพวกเขา… นับเป็นครั้งแรก ตั้งแต่ปี 1979 หลังจากเผชิญสงคราม การรุกราน และความไม่มั่นคงมาหลายสิบปี อิรักได้เป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วย Gulf Cup โดยเป็นการแข่งขันระหว่าง eight ประเทศ…
ตรัสแย้งต่อไปว่า เคยตรัสสั่งให้ลงโทษโจรที่จับได้ โดยให้ใส่ลงไปในหม้อทั้งเป็น ปิดผาแล้วเอาหนังสดรัด เอาดินเหนียวที่เปียกยาให้แน่น ยกขึ้นสู่เตาแล้วจุดไฟ เมื่อรู้ว่าผู้นั้นตายแล้ว ก็ให้ยกหม้อลง กะเทาะดินเหนียวที่ยาออก เปิดฝาค่อย ๆ มองดู เพื่อจะได้เห็นชีวะของโจรนั้นออกไปก็ไม่เห็นเลย จึงทำให้ไม่เชื่อว่ามีโลกอื่น. พระเถระถามว่า ที่ทรงเห็นว่าโลกอื่นไม่มี เป็นต้นนั้น พระจันทร์พระอาทิตย์เป็นเทวดาหรือมนุษย์ ในโลกนี้หรือโลกอื่น. ตรัสตอบว่า พระจันทร์พระอาทิตย์อยู่ในโลกอื่น มิใช่เทวดาหรือมนุษย์ในโลกนี้. ครั้นแล้วทรงสรุปผลของการปฏิบัติ ในการตั้งสติ ๔ อย่างนี้ว่า จะเป็นเหตุให้ได้บรรลุผลอย่างใดอย่างหนึ่ง คือบรรลุอรหัตตผลในปัจจุบัน ถ้ายังมีเชื้อเหลือ ก็จะได้บรรลุความเป็นพระอนาคามี ( ผู้ไม่กลับมาเกิดในโลกนี้อีก ) ภายใน ๗ ปี หรือลดลงมาโดยลำดับถึงภายใน ๗ วัน. อนึ่ง การพิจารณากาย , เวทนา , จิต , ธรรม ทั้งสี่ข้อนี้ นอกจากมีรายการพิเศษดังกล่าวมาแล้ว ยังมีรายการพิจารณาที่ตรงกันอีก ๖ ประการ คือ ๑. ที่อยู่ภายใน ๒.
ตรัสว่า ภิกษุหรือภิกษุณีผู้เจริญธรรมะ ๕ อย่าง ย่อมหวังผลได้ ๒ อย่าง คืออรหัตตผลในปัจจุบัน หรือถ้ายังมีกิเลสเหลือก็จะได้เป็นพระอนาคามี คือตั้งสติภายในเพื่อมีปัญญาเห็นความเกิดดับแห่ง ธรรม นอกนั้นเหมือนข้อธรรมของภิกษุไข้ข้อ ๑ ถึง ๔. ทรงแสดงธรรมะที่เป็นไปเพื่อความเสื่อมของภิกษุผู้เป็นเสขะ ( ยังศึกษาเพื่อคุณความดีสูงขึ้นไป ) ๕ ประการ คือความยินดีในการงาน,๔ ในการพูดมาก, ในการนอนหลับ, ในการคลุกคลีด้วยหมู่, ไม่พิจารณาจิตตามที่หลุดพ้นแล้ว และฝ่ายดีทรงแสดงโดยนัยตรงกันข้าม และได้ทรงแสดง ธรรมฝ่ายชั่วฝ่ายดีทำนองนี้ในนัยอื่นอีก. ตรัสสอนภิกษุรูปหนึ่ง ให้สำรวมอินทรีย์, รู้ประมาณในอาหาร, ประกอบ ความเพียรเป็นเครื่องตื่น ( ไม่เห็นแก่นอน ), มีปัญญาเห็นแจ้ง, เจริญโพธิปักขิยธรรม ( ธรรมอันเป็นฝ่ายแห่งปัญญาตรัสรู้ ) เธอทำตาม ก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์. พระนารทะ๖ อยู่ในกุกกุฏาราม กรุง ปาตาลิบุตร ทูลพระเจ้ามุณฑะ ผู้ไม่เป็นอันสรงเสวยเมื่อพระนางภัททาเทวีสวรรคต ในทำนองเดียวกับที่พระผู้มี พระภาคตรัสแล้วข้างต้น. ตรัสแสดงว่า สัตบุรุษเกิดในสกุล ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุขแก่คน เป็นอันมาก คือ แก่มารดา บิดา, บุตร ภริยา, ทาส กรรมกร, เพื่อนฝูง, สมณพราหมณ์.
ตรัสว่า ภิกษุเห็นอานิสงส์ ๖ อย่าง ควรตั้งความกำหนดหมายว่าไม่ใช่ตนใน ธรรมทั้งปวงโดยไม่กำหนดขอบเขต คือเราจักไม่มีตัณหาและทิฏฐิ ( ความทะยานอยากและความเห็นเป็นเหตุยึดถือ ) ในโลกทั้งปวง, เราจัก ดับความถือว่าเป็นเรา, ความถือว่าเป็นของเราเสียได้, เราจักประกอบด้วยญาณอันไม่สาธารณะ, เราจักเห็นด้วยดีซึ่งเหตุและธรรมอันเกิดแต่ เหตุ. ตรัสว่า ภิกษุคบมิตรชั่ว ดำเนินตามมิตรชั่ว เป็นไปไม่ได้ที่จะทำธรรมะเกี่ยว กับความประพฤติและมารยาท ( อภิสมาจาริกธรรม ), ธรรมของพระเสขะ, และทำศีลให้บริบูรณ์ และเป็นไปไม่ได้ที่จะละกามราคะ ( ความ กำหนัดในกาม ), รูปราคะ ( ความกำหนัดในรูป ), อรูปราคะ ( ความกำหนัดในสิ่งที่มิใช่รูป ). ในทางดีทรงแสดงตรงกันข้าม.
โดยนัยนี้ไปพบผ้าเปลือกไม้. ผ้าฝ้าย , เหล็ก , โลหะ , ดีบุก ตะกั่ว, เงิน, ทอง คนหนึ่งทิ้งของเก่าถือเอาของใหม่ที่มีราคากว่า แต่อีกคนหนึ่งไม่ยอมทิ้ง ถือว่าแบกมาไกลแล้วผูกรัดไว้ดีแล้ว เมื่อกลับไปถึงบ้าน บุตร ภริยา เพื่อนฝูงแบกห่อป่าน ก็ไม่ชื่นชม แต่บุตร จริยาเพื่อนฝูงของผู้แบกห่อทองกลับมา ต่างชื่นชม. พระองค์จะเป็นอย่างผู้แบกห่อป่าน ขอจงสละความเห็นผิดนั้นสียเถิด. พระผู้มีพระภาคตรัสชมแก่ปัญจสิขะบุตรคนธรรมพ์ว่า เสียงพิณกับเสียงเพลงขับเข้ากันดี แล้วตรัสถามว่า คาถาอันเกี่ยวด้วยพระพุทธ เป็นต้นนี้ แต่งไว้ตั้งแต่ครั้งไร . ปัญจสิขะกราบทูลว่า ตังแต่ครั้งพระผู้มีพระภาคตรัสรู้ใหม่ ๆ ประทับที่ต้นอชปาลนิโครธ ใกล้ฝั่งน้ำเนรัญชรา. เริ่มเรื่องเล่าว่า พระพุทธเจ้าประทับ ณ ภูเขาคิชฌกูฏ ใกล้กรุงราชคฤห์ พระเจ้าอชาตศัตรูกษัตริย์แคว้นมคธ ต้องการจะตีแคว้นวัชชีไว้ในอำนาจ ๑ .
บัดนี้ มนุษย์ทั้งหลายมีอายุร้อยปี เพราะเหตุนั้น ครั้งนั้น พระโพธิสัตว์ทรงเห็นว่า เป็นกาลที่ควรบังเกิด. ในสมัยที่เราเป็นช้างผู้เลี้ยงมารดาอยู่ในป่า พรานคนหนึ่งเห็นเข้าก็ไปกราบทูลแด่พระราชา พระราชาจึงทรงส่งควาญช้างไปจับเรา พรานช้างสังเกตเห็นเราถอนรากเหง้าบัวเพื่อเลี้ยงมารดา ก็เข้ามาจับงวง เรียกเราว่า ลูกเอ๋ยจงมา เพื่อที่จะรักษาศีลไว้ เราแม้จะมีกำลังมาก ก็มิได้ทำให้จิตปรวนแปรผิดปกติ. ในสมัยเมื่อเราเป็นกษัตริย์นามว่า สิวิ๙ ในกรุงอริฏฐะ วันหนึ่งดำริว่า ทานที่เป็นของมนุษย์ใด ๆ ที่เราไม่เคยให้ ไม่มี แม้ผู้ใดจะขอดวงตา เราก็จะให้โดยมิหวั่นไหว. ท้าวสักกะทราบความดำริของเรา จึงปลอมตัวเป็นพราหมณ์แก่ตาบอดมาขอตาข้างหนึ่ง แต่เรากลับให้สองข้าง.
ที่มีการเบียดเบียนเป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ที่มีผลเป็นทุกข์. ที่มีผลเป็นทุกข์เป็นอย่างไร ทูลตอบว่า ที่เป็นไปเพื่อเบียดเบียนตนบ้าง เบียดเบียนผู้อื่นบ้าง เบียดเบียนทั้งสองฝ่ายบ้าง. อกุศลธรรมย่อมเจริญ กุศลธรรมย่อมเสื่อมเมื่อมีผู้ประพฤติเช่นนั้น ส่วนในทางดี พึงทราบโดยนัยตรงกันข้าม. พระเจ้าปเสนทิเตรียมยกทัพออกปราบโจรองคุลิมาล เสด็จไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคพร้อมด้วยไพร่พล เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสถาม ก็กราบทูลว่า จะไปปราบโจรองคุลิมาล. พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ถ้าพบโจรองคุลิมาลบวชแล้วตั้งอยู่ในคุณธรรมจะทรงทำอย่างไร พระเจ้าปเสนธิกราบทูลว่า จะอภิวาทต้อนรับ ถวายปัจจัย ๔ และถวายความคุ้มครองอันเป็นธรรม. แล้วกล่าวกะบริษัทของตน อนุญาตให้ประพฤติพรหมจรรย์ในพระสมณโคดมได้ ส่วนตนเองยากที่จะสละลาภสักการะชื่อเสียงไปได้โดยง่าย.
ทางการปาเลสไตน์ประณามการอนุมัติชุดมาตรการลงโทษของรัฐบาลอิสราเอล ต่อประชาชนและผู้นำชาวปาเลสไตน์ กรณีที่มีการนำเรื่องขึ้นฟ้องร้องต่อศาลระหว่างประเทศ… ศาลฎีกาอินเดียสั่งระงับการรื้อถอนบ้านกว่า four,000 หลัง ในเมืองฮัลด์วานี ทางตอนเหนือของรัฐอุตราขัณฑ์ ที่ถูกกล่าวหาว่า รุกล้ำที่ดินของการรถไฟ.. ศาลทหารเลบานอนตั้งข้อหาผู้ต้องสงสัย 7 คน ว่ามีการเกี่ยวพันกับการโจมตีรถเจ้าหน้าที่รักษาสันติภาพชาวไอริช…
นี้แลคืออนุสาสนีของเรา. เมื่อจบธรรมเทศนา เวขณสปริพพาชกทูลสรรเสริญ แสดงตนเป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต. ทั้งสองประเภทนี้ไม่ต้องทรงสอนให้ทำการด้วยความไม่ประมาท เพราะทำการด้วยความไม่ประมาทอยู่แล้ว ( คือเป็นพระอรหันต์อยู่แล้ว ไม่เป็นไปได้ที่จะประมาทอีก ).
จึงตรัสถามว่า นิครนถ์เจ็บหนัก ห้ามน้ำเย็น รับแต่น้ำร้อน เมื่อไม่ได้น้ำเย็นก็ตายดังนี้ นิครนถนาฏบุตรบัญญัติผู้นี้ว่า จะไปเกิดที่ไหน. ทูลตอบว่า เกิดในเทพที่ชื่อว่า นโมสัตตะ ( ผู้ข้องอยู่ในจิตใจ) เพราะเกี่ยวเกาะอยู่ในเรื่องจิตใจตายไป. ตรัสเตือนให้คิดให้ดีเสียก่อนแล้วจึงตอบ คำต้นกับคำท้ายไม่ต่อกัน ( คือเดิมชี้ว่า โทษหรือทัณฑ์ทางกายมีโทษมากกว่า แต่ตอบว่า มีใจเป็นเหตุ ) แต่อุบาลีคฤหบดีก็ยังยืนยันว่าทัณฑ์ทางกายมีโทษมากกว่า. ตรัสว่า เมื่อมีตน ก็มีการยึดว่า สิ่งที่เนื่องด้วยตนของเรามีอยู่, เมื่อมีสิ่งเนื่องด้วยตน ก็มีการยึดว่าตนของเรามีอยู่ , เมื่อไม่ได้ตนหรือสิ่งที่เนื่องด้วยตนโดยแท้จริง ความเห็นว่าโลกเที่ยง อัตตาเที่ยง จึงเป็นธรรมะของคนพาลอันบริบูรณ์ ครั้นแล้วตรัสถามภิกษุทั้งหลายให้เห็นด้วยตนเองว่า ขันธ์ ๕ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ไม่ใช่ตัวตน ไม่ควรยึดถือ .
หยาบช้า ๒. เผาตน ๓. สายกลาง โดยทรงอธิบายว่า ปฏิปทาอย่างหยาบช้า ได้แก่ที่เห็นว่า กามไม่มีโทษ จึงบริโภคกาม, อย่างเผาตน ได้แก่ทรมานตนมีเปลือยกาย เป็นต้น, อย่างสายกลาง ได้แก่การเจริญสติปัฏฐาน ( การตั้งสติ ) ๔ อย่าง. ตรัสแสดงธรรมเรื่องลาเดินตามหลังโค ร้องว่า ฉันเป็นโค ฉันเป็นโค แต่สีกาย เสียง และรอยเท้าก็ไม่เหมือนของโคฉันใด ภิกษุบางรูปที่เดินตามหลังภิกษุสงฆ์ กล่าวว่า ฉันเป็นภิกษุ ฉันเป็นภิกษุ แต่ความพอใจในการสมาทาน อธิศีล, อธิจิต , อธิปัญญา ของภิกษุนั้น ย่อมไม่เหมือนของภิกษุเหล่าอื่น จึงได้แต่ตามหลังเท่านั้น. ทรงแสดงอาธิปไตย ( ความเป็นใหญ่ ) ๓ อย่าง คือ อัตตาธิปไตย ( ถือตนเป็นใหญ่ ) โลกาธิปไตย ( ถือโลกเป็นใหญ่ ) และธัมมาธิปไตย ( ถือธรรมะเป็นใหญ่ ) แล้วทรงอธิบายถึงคนที่เว้นความชั่ว ประพฤติความดี เพราะปรารภตนบ้าง ปรารภโลกบ้าง ปรารภธรรมะบ้าง. ทรงแสดงเรื่องเทวทูต ๓ คือคนแก่ คนเจ็บ คนตาย ซึ่งควรเป็นเครื่องเตือนใจคน ให้ตั้งอยู่ในความไม่ประมาท แล้วแสดงการที่ผู้ทำกรรมชั่วจะถูกทรมานในนรกอย่างไร.
เจริญวิปัสสนา มีสมถะเป็นเบื้องต้น(เจริญปัญญาโดยเจริญสมาธิก่อน ) ๒. เจริญสมถะ มีวิปัสสนเป็นเบื้องต้น ( เจริญสมาธิโดยเจริญปัญญาก่อน ) ๓. เจริญทั้งสมถะและวิปัสสนาคู่กัน ๔.
ตรัสถามต่อไปอีกว่า รู้หรือไม่ว่า อกุศลธรรมและกุศลธรรมเจริญหรือเสื่อมแก่บุคคลผู้เสวยเวทนาอะไรทีละข้อ ก็กราบทูลตอบว่า ไม่รู้. จึงตรัสอธิบายโดยพิสดารทีละข้อ โดยใจความว่า ทรงทราบแล้วถึงเรื่องเหล่านี้ จึงทรงแนะนำให้เข้าถึงสุขเวทนาบ้าง ทุกข์เวทนาบ้าง อทุกขมสุขเวทนาบ้าง ตามความเหมาะสม. ตรัสกับพระมาลุงกยบุตร ๙ ว่า ท่านทรงจำไว้ว่า เราแสดงแก่ใคร พวกนักบวชลัทธิอื่นจักพูดแข่งดีด้วยการเปรียบเทียบกับเด็กอ่อนมิใช่หรือ เพราะว่าเด็กอ่อนนอนหงาย ย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า “ กายของเตน” ความเห็นเป็นเหตุยึดถือกายของตนจักเกิดขึ้นได้อย่างไร. แต่ว่าอนุสัย ( กิเลสที่แฝงตัว) คือความเห็นเป็นเหตุยึดถือกายของตน ของเด็กนั้นย่อมแฝงตัวตามไป. แล้วตรัสแสดงต่อไปอีกเป็นข้อ ๆ เด็กย่อมไม่มีแม้ความคิดว่า “ ธรรมทั้งหลาย” ความสังสัยในธรรมทั้งหลายจักมีได้อย่างไร. แต่ว่าอนุสัยคือความสงสัยของเด็กนั้นย่อมแฝงตัวตามไป.
ตรัสตอบชี้แจงพึงธรรม ๕ ประการที่สาวกเห็นแล้วสักการะเคารพ เป็นต้น ในพระองค์โดยละเอียดแล้วตรัสชี้ข้อธรรมอื่นอีก ๕ ข้อ คือ ๑. เห็นว่าทรงศีล ๒. เห็นว่าทรงแสดงธรรม เพื่อความรู้ยิ่ง มิใช่เพื่อไม่รู้ยิ่ง; มีเหตุ; มิใช่ไม่มีเหตุ; มีปาฏิหารย์ มิใช่ไม่มีปาฏิหารย์ ๓ . เห็นว่าทรงปัญญา ๔.
วิริยะ ความเพียร ๖. ขันติ ความอดทน ๗. สัจจะ ความจริงใจ ๘. อธิฏฐาน ความตั้งใจมั่น ๙. เมตตา ไมตรีจิตคิดจะให้สัตว์ทั้งปวงเป็นสุข ๑๐.อุเบกขา วางใจเป็นกลาง ในสโมธานกถาได้แสดงไว้ด้วยว่า เรื่องอะไรบ้างเป็นบารมีเฉย ๆ เป็นอุปบารมี และเป็นปรมัตถบารมี แต่ก็แสดงไว้พอเป็นตัวอย่าง ไม่ถึงร้อยเรื่องต่อไปนี้จะกล่าวตามลำดับจริยาตามที่ปรากฏในบาลีเป็นลำดับไป ).
( หมายเหตุ: พระสูตรนี้แสดงว่าพระผู้มีพระภาคทรงให้บทเรียนแก่ภิกษุผู้ส่งเสียงอื้ออึง เหล่านั้นอย่างแรง แต่เมื่อมีเหตุผลสมควร ก็ทรงเลิกลงโทษ คือมิใช่ลงโทษให้เสียคน แต่ให้กลับตัว ). อุบาลีคฤหบดีได้ฟัง ก็แสดงความประสงค์จะไปยกวาทะในเรื่องนี้ จะฟัดฟาดเสียเหมือนคนมีกำลังดึงขนแกะไปมา เป็นต้น. แต่ทีฆตปัสสีนิครนถ์คัดค้าน อ้างว่าพระสมณโคดมรู้มายากลับใจคน ย่อมกลับใจสาวกเดียรถีย์ได้ .
เมื่อภิกษุอ้างว่าตนได้สดับได้รับมาในที่เฉพาะหน้าของ พระเถระมากหลายในโอวาสโน้น ซึ่งเป็นผู้สดับตรับฟังมาก จำพระสูตรได้ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ๔. เมื่อภิกษุ อ้างว่าตนได้สดับ ได้รับมาในที่เฉพาะหน้าของพระเถระรูปหนึ่งในโอวาสโน้น ซึ่งเป็นผู้สดับตรับฟังมาก ( เหมือนข้อ ๓ ). การได้สดับ ได้รับมาทั้งสี่ข้อนั้น มีใจความว่านี้เป็นธรรม เป็นวินัย เป็นคำสอนของพระศาสดา, พึงทรงจำบทพยัญชนะ นั้น ๆ ให้ดีแล้วสอบในพระสูตร เทียบในพระวินัย ถ้าไม่เข้ากัน ก็พึงแน่ใจว่า ไม่ใช่ถ้อยคำของพระผู้มีพระภาค. ภิกษุนี้ถือ มาผิด พึงทิ้งเสีย ถ้าเข้ากันได้ ( กับพระสูตรพระวินัย ) พึงแน่ใจว่า ใช่ถ้อยคำของพระผู้มีพระภาค ภิกษุนี้ถือมาถูกแล้ว.
จะตอบให้ชอบ เพราะเข้าไปฟังธรรมและได้รู้ยิ่งธรรมบางอย่างในธรรมที่แสดงนั้นดังกล่าว แล้ว. ทรงแสดงถึงภิกษุผู้ปฏิบัติข้อปฏิบัติชอบของสมณะ คือละมลทิน ( ทั้งสิบสองอย่าง ) ได้ พิจารณาเห็นตนบริสุทธิ์ พ้นจากอกุศลบาปธรรมทั้งหลาย จึงเเกิดปราโมทย์ปีติ มีกายระงับ เสวยสุข มีจิตตั้งมั่น แผ่จิตอันประกอบด้วยพรหมวิหาร ๔ หาประมาณมิได้ไปยังโลกทั้งสิ้น ทุกทิศทาง. เปรียบเหมือสระน้ำใสเย็นสนิท มีท่าลงอาบน้ำอันน่ารื่นรมย์ คนเดินทางมาแต่ ๔ ทิศ ถูกความร้อนเผา ลำบาก อยากน้ำ กระหายน้ำ มาถึงสระนั้น ก็จะนำความกระหายน้ำ ความกระวนกระวายเพราะความร้อนออกเสียได้. บุคคลออกบวชจากสกุลกษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร มาถึงพระธรรมวินัย ที่พระตถาคตประกาศแล้ว เจริญเมตตา , กรุณา , มุทิตา , อุเบกขา ย่อมได้ความสงบระงับภายใน ผู้เช่นนี้ ตรัสว่า ปฏิบัติข้อปฏิบัติอันชอบของสมณะ.
พราหมณ์ตอบว่า กำเนิดดิรัจฉานดีกว่า. จึงถามเปรียบเทียบเรื่อยไปจากต่ำจนถึงสูง คือเปรตวิสัย, มนุษย์ , เทพชั้นจาตุมหาราช, ชั้นดาวดึงส์, ชั้นยามะ, ชั้นดุสิต, ชั้นนิมมานรดี, ชั้นปรนิมมิตวสวัตตีและพรหมโลก เมื่อเห็นว่าพวกพราหมณ์มีจิตน้อมไปเพื่อพรหมโลก จึงแสดงข้อปฏิบัติเพื่อไปเกิดในพรหมโลกให้ธนัญชานิพราหมณ์ฟัง คือการเจริญพรหมวิหาร ๔ ประการ. เมื่อมนุษย์อายุ ๘ หมื่นปีนั้น พระผู้มีพระภาคพระนามว่า เมตไตรย จักบังเกิดในโลกเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชา ( ความรู้ ) จรณะ ( ความประพฤติ ) เป็นต้น แสดงธรรมไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง และเบื้องปลาย พร้อมทั้งอรรถะพยัญชนะ บริหารภิกษุสงฆ์มีพันเป็นอเนกเช่นเดียวกับที่เราบริหารภิกษุสงฆ์มีร้อยเป็นอเนก . พระเจ้าสังขจักรพรรดิ์จักให้ยกปราสาทที่พระเจ้ามหาปนาทะให้สร้างขึ้น ครอบครอง แจกจ่ายทาน และออกผนวชในสำนักพระเมตไตรยพุทธเจ้า ในไม่ช้าก็จะทำให้แจ้งซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเยี่ยมด้วยความรู้ยิ่งด้วยพระองค์เอง ( คือสำเร็จเป็นพระอรหันต์ ). พระผู้มีพระภาคไม่ตรัสสรรเสริญผู้บำเพ็ญฌานอย่างไม่รู้ความจริงเกี่ยวกับ นีวรณ์ ๕ ( กิเลสอันกั้นจิตมิให้บรรลุความดี ) ปล่อยให้นีวรณ์ครอบงำ. ตอบอย่างนี้ไม่เป็นการยกตน ( ว่าสามารถ ) ไม่เป็นการข่มผู้อื่น ( ว่าไม่สามารถ ) และก็จะไม่ถูกตำหนิ.
มีศรัทธาเชื่อปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ๒. ไม่โอ้อวด ไม่มีมายา ๔. ลงมือทำความเพียร ๕. มีปัญญาเห็นความเกิดความดับ ฯลฯ. มหาปุริสลักขณะ ๓๒ ประการ มีพระบาทตั้งลงด้วยดี ( มีพื้นพระบาทเสมอ ไม่แหว่งเว้า ) เป็นข้อต้น มีพระเศียรประดับด้วยอุณหิส ( กรอบพระพักตร์ ) เป็นข้อสุดท้าย แล้วทรงแสดงลักษณะแต่ละอย่างที่เกิดขึ้นนั้น เกิดขึ้นเพราะกระทำกรรมดีต่าง ๆ ไว้. ครั้นได้โอกาส ท้าวสักกะพร้อมด้วยบริวารก็เข้าไปเฝ้า เมื่อได้ตรัสสัมโมทียกถาพอสมควรแล้ว พระผู้มีพระภาคก็ทรงให้ท้าวสักกะกราบทูลถามปัญหาได้ ต่อไปนี้เป็นคำถามและพระพุทธดำรัสตอบ.
อีกนัยหนึ่งเทียบด้วยภิกษุ มีศีล, มีความเพียร, ละสัญโญชน์ ๕ ได้ ( เป็นพระอนาคามี ) . ลักษณะของสิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง ( สังขตลักษณะ ) ๓ อย่าง คือความเกิดขึ้นปรากฏ ความเสื่อมปรากฏ ความแปรปรวนปรากฏ ส่วนลักษณะของสิ่งที่ปัจจัยมิได้ปรุงแต่ง (อสังขตลักษณะ) ตรงกันข้าม. อุคคตะ คฤหบดี เป็นผู้เลิศในทางอุปฐาก (รับใช้) พระสงฆ์.
ตรัสต่อไปว่า เพราะประชุมเหตุ ๓ อย่าง คือ ๑. มารดาบิดาอยู่ร่วมกัน ๒. มารดามีระดู ๓. คนธรรพ์ปรากฏ จึงมีการตั้งครรภ์ ถ้าขาดข้อใดข้อหนึ่ง ก็ไม่มีการตั้งครรภ์ ( คำว่า ตั้งครรภ์ แปลหักจากคำว่า การก้าวลงของสัตว์ในครรภ์ ). มารดาบริหารครรภ์ อันนับเป็นภาระหนักด้วยความสงสัยอันใหญ่ตลอดเวลา ๙ เดือนบ้าง ๑๐ เดือนบ้าง แล้วก็คลอดและเลี้ยงเด็กที่เกิดนั้นด้วยโลหิตของตน ด้วยความสงสัยอันใหญ่.
ส่วนที่จะตั้งอยู่ได้นาน คือตรงกันข้าม . ทรงแสดงความเกิดขึ้นแห่งตัณหา ๔ อย่าง คือเกิดขึ้นเพราะปัจจัย ๔ แก่พระมาลุงกยบุตร. ทรงแสดงเรื่องของการสงเคราะห์ ( สังคหวัตถุ ) ๔ อย่าง คือการให้, การพูดไพเราะ, การบำเพ็ญประโยชน์, การวางต่ำสม่ำเสมอ.
ไม่พูดปดทั้งที่รู้ ๕. ไม่สะสมอาหารบริโภคเหมือนคนที่เคยเป็นเจ้าหน้าที่เรือนคลัง ๖. ไม่ลำเอียงเพราะชอบ ๗. ไม่ลำเอียงเพราะชัง ๘.
เว้นจากดำรงชีวิตด้วยมิจฉาชีพ ด้วยติรัจฉานวิชา เช่น ดูลักษณะแก้วมณี , ลักษณะไม้ถือ, ลักษณะผ้า , ลักษณะศัสตรา เป็นต้น. พิธีฝังศพชายมุสลิม โดยเป็นการนำเถ้ากระดูกมาฝัง เนื่องจากร่างถูกเผาไปเพราะความเข้าใจผิด… วัยรุ่นก่อเหตุควงมีดทำร้ายคนใกล้สถานที่จัดงานปีใหม่ในสหรัฐฯ ต้องสงสัยพัวพัน ISIS… งานวิจัยของคุณ Marlinnda เผยว่าเกาหลีใต้แม้ว่าจะเป็นประเทศที่มีประชากรมุสลิมไม่มาก แต่ก็ยังมี “การพัฒนานโยบายการท่องเที่ยวฮาลาล” ..
ธรรมในทัสสนสมาบัติ ( เข้าฌานที่มีการเห็นอารมณ์ต่าง ๆ รวม ๔ อย่าง คือเห็นอาการ ๓๒ มีผม ขน เป็นต้น ; พิจารณากระแสวิญญาณของบุรุษ อันตั้งอยู่ในโลกนี้และโลกโลกอื่น ; พิจารณาวิญญานของบุรุษอันไม่ตั้งอยู่ในโลกนี้และโลกอื่น. ความพิสดารโปรดย้อนกลับไปดูอรรถกถา ( ข้อความน่ารู้จากพระไตรปิฎก ). ครั้นแล้วทรงแสดงว่าพระเจ้ามหาสุทัสสนะจักรพรรดิ์ทรงเห็นว่า ผลดีต่าง ๆ เหล่านั้นเกิดขึ้นเพราะผลแห่งกรรมดีคือทาน ( การให้ ) ทมะ ( การฝึกจิต ) และ สัญญมะ ( การสำรวมจิต ). จึงทรงบำเพ็ญฌานสงบความตรึกทางกาม ความตรึกทางพยาบาท และความตรึกทางเบียดเบียน ได้บรรลุฌานที่ ๑ ถึงฌานที่ ๔ ทรงแผ่พระมนัสอันประกอบด้วยเมตตา ( คิดให้เป็นสุข ) กรุณา ( คิดให้พ้นทุกข์ ) มุทิตา ( พลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดี) และอุเบกขา ( วางใจเป็นกลาง ) ไปทั่งสี่ทิศ. พระเวสสภูพุทธเจ้าทรงสมภพในกุลกษัตริย์ ในกัปป์ที่ ๓๑ ก่อนหน้ากัปป์ปัจจุบันนี้ มีพระนามโดยพระโคตรว่า โกณฑทัญญะ มีประมาณแห่งอายุ ๖ หมื่นปี ตรั้สรู้ที่โคนไม้สาละ มีคู่แห่งอัครสาวกนามว่าโสณะกับอุตตระ มีการประชุมสาวก ๓ ครั้ง .
แต่พระองค์ ( พระโพธิสัตว์ ) ไม่มีโทษ ๑๖ ข้อนั้น ทรงเห็นความสมบูรณ์ ( อันตรงกับข้ามกับโทษ ๑๖ ข้อในพระองค์ ) จึงมีขนตก ( ไม่หวาดกลัว ไม่ขนพอง ) อยู่ป่าได้ดีผู้หนึ่งในพระอริยเจ้าผู้เสพเสนาสนะอันสงัดอันตั้งอยู่ในป่าทั้งหลาย. อัมพัฏฐมาณพตอบว่า เป็นไม่ได้. มาณพจึงไปพร้อมด้วยพราหมณ์คณะใหญ่ เมื่อได้เข้าเฝ้าแล้วจึงถามพระมติว่า จะทรงคิดเห็นอย่างไร ในข้อที่พราหมณ์ทั้งหลายกล่าวว่า วรรณะพราหมณ์เท่านั้นประเสริฐ เป็นฝ่ายขาว บริสุทธิ์ ส่วนวรรณะอื่นตรงกันข้าม. พระผู้มีพระภาคตรัสตอบ อ้างว่าพราหมณ์เกิดจากองค์กำเนิดของนางพราหมณ์ จะว่าเกิดจากปากพรหมเป็นผู้ประเสริฐได้อย่างไร.
สีหเสนาบดีกราบทูลว่า ๔ ข้อแรกมิได้เชื่อเพราะพระผู้มีพระภาคตรัส แต่ เชื่อเพราะเห็นจริงด้วยตนเอง. ส่วนข้อหลังไม่ทราบ จึงต้องเชื่อตามพระผู้มีพระภาค. พระอริยสงฆ์ ๔ คู่ ๘ บุคคล เป็นเลิศแห่งหมู่ทั้งหลาย. ผู้เลื่อมใสใน ๔ อย่างนี้ ชื่อว่าเลื่อมใสในสิ่งที่เลิศอันจะ มีผลเลิศ ). และมีศีลที่พระอริยเจ้าใคร่ว่า จะเข้าถึงสุคติ ไม่เข้าถึงทุคคติเมื่อล่วงลับไป.
นั้นโคนไม้ นั้นเรือนว่าง จงเพ่งเถิด อย่าประมาท อย่าเดือดร้อนภายหลังเลย นี่และคือคำสอนของเรา. เนิ่นช้าอยู่กับอารมณ์ใด ส่วนแห่งความกำหนดหมายกิเลสเป็นเหตุให้เนิ่นช้าในรูปที่พึงรู้ได้ด้วยตา เป็นต้น ที่เป็นอดีต , อนาคต, ปัจจุบัน ย่อมครอบงำเขา เพราะเหตุนั้น. ท่านแสดงถึงภิกษุผู้ปวารณาตนให้ภิกษุอื่นว่ากล่าว แต่ก็เป็นผู้ว่ายาก จึงไม่มีใคร ( เพื่อนพรหมจารี ) อยากว่ากล่าวตักเตือนหรือคุ้นเคยด้วย แล้วแสดงธรรมะที่ทำให้ว่ายากหลายข้อ มีความปรารถนาลามกเป็นต้น มีการยึดแต่ความเห็นของตนเป็นข้อสุดท้าย. ตรัสว่า คนที่จม (ลงไปในหล่ม ) จะอุ้มคนที่จม ( ลงไปในหล่มด้วยกัน ) ขึ้นมาได้นั้น มิใช่ฐานะที่มีได้ คนที่ไม่จมจึงอุ้มคนที่จมขึ้นมาได้. คนที่ไม่ฝึก ไม่หัด ไม่ดับเย็นด้วยตนเอง จะฝึก จะหัด จะทำใหคนอื่นดับเย็น มิใช่ฐานะที่มีได้ คนที่ฝึกหัดดับเย็นด้วยตนเอง จึงฝึกหัดให้คนอื่นดับเย็นได้.
บรรลุเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อัน ไม่มีอาสวะ. ตรัสตอบปัญหาของวัจฉโคตรปริพพาชก ผู้ได้ฟังมาว่า พระองค์สอนให้ถวายทานแก่พระองค์และสาวกของพระองค์เท่านั้น ไม่ควรให้แก่ผู้อื่นและสาวกของผู้อื่น ทานที่ถวายแก่พระองค์และสาวกของพระองค์มีผลมาก ที่ให้แก่ผู้อื่นและสาวกของผู้อื่นไม่มีผลมาก. ทรงแสดงกำลังกล้า ๒ อย่าง คือ กำลังคือการพิจารณา ( ปฏิสังขานพละ ) กับกำลังคือการอบรม ( ภาวนาพละ) แล้วตรัสอธบายกำลังคือการพิจารณาว่า ได้แก่การพิจารณาเห็นโทษของทุจจริต แล้วละทุจจริต เจริญสุจริตบริหารให้บริสุทธิ์ได้ . ส่วนกำลังคือการอบรม ได้แก่กำลังของพระเสขะ ( พระอริยบุคคลผู้ยังศึกษา) ซึ่งเป็นเหตุให้ละราคะ โทสะ โมหะ ไม่ทำอกุศล ไม่เสพบาป.